บทความ

เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่กับภาวะมีบุตรยาก

การเกิดโรคมีหลายทฤษฎี ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดคือการที่ประจำเดือนไหลย้อนกลับเข้าสู่ช่องท้องโดยผ่านทางท่อนำไข่ แล้วไปฝังตัวในอุ้งเชิงกราน ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ รังไข่ บริเวณด้านหลังของมดลูกหน้าท่อลำไส้ใหญ่เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในร่างกายเวลายืน และอวัยวะในอุ้งเชิงกรานอื่นๆ เช่น กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้ใหญ่ ...

Read more: เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่กับภาวะมีบุตรยาก

ภาวะมีบุตรยาก

ภาวะมีบุตรยาก (infertility) หมายถึง การที่คู่สมรสมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ โดยไม่คุมกำเนิด เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปีแล้วไม่ตั้งครรภ์

ภาวะมีบุตรยากแบ่งเป็น 2 ชนิด

1. ชนิดปฐมภูมิ คือ ไม่เคยตั้งครรภ์เลย

Read more: ภาวะมีบุตรยาก

ตัวอ่อนระยะต่างๆ และการย้ายตัวอ่อนสู่โพรงมดลูก

ขอเริ่มต้นที่การปฏิสนธิตามธรรมชาติก่อนค่ะ ในช่วงที่ไข่ตกออกจากรังไข่ ส่วนปลายของท่อนำไข่จะโบกพักไข่เข้าสู่ท่อนำไข่ส่วนปลาย ถ้ามีเพศสัมพันธ์ในช่วง นั้น อสุจิเดินทางจากช่องคลอดเข้าสู่โพรงมดลูกและท่อนำไข่ อาจเกิดการ ปฏิสนธิกับไข่ที่บริเวณท่อนำไข่ส่วนปลาย

Read more: ตัวอ่อนระยะต่างๆ และการย้ายตัวอ่อนสู่โพรงมดลูก

จำนวนไข่และคุณภาพไข่ ในขบวนการเด็กหลอดแก้ว

ในขั้นตอนการทำเด็กหลอดแก้ว โอกาสความสำเร็จสัมพันธ์กับปัจจัยหลายอย่างของผู้หญิง เช่น อายุ โดยอายุของสตรี จะสัมพันธ์กับ จำนวนไข่ คุณภาพของไข่

Read more: จำนวนไข่และคุณภาพไข่ ในขบวนการเด็กหลอดแก้ว

การฝังตัวของตัวอ่อนและการตรวจการตั้งครรภ์

การฝังตัวตามธรรมชาติของตัวอ่อนจะเกิดขึ้นหลังไข่ตกประมาณ 5-7 วัน กรณีของเกิดหลอดแก้วการ ฝังตัวจะขึ้นกับระยะของตัวอ่อนที่ใส่กลับสู่โพรงมดลูก ถ้าใส่ตัวอ่อนกลับในวันที่ 3 หลังการเก็บไข่ตัว อ่อนจะฝังตัวใน 3-5 วันโดยประมาณ และถ้าใส่ตัวอ่อนกลับในวันที่ 5 ตัวอ่อนจะฝังตัวหลังจากนั้น 1-3 วัน ถ้าตัวอ่อนน้ันไม่ฝังตัวจะค่อยๆฝ่อไปเองโดยสตรีนั้นจะไม่มีอาการหรืออาการแสดงใดๆที่บ่งบอกว่า ตัวอ่อนเกิดการฝังตัวหรือไม่ อาการท้องอืด คัดเต้านมมักเกิดจากฮอร์โมนที่ใช้หลังการใส่ตัวอ่อน ไม่ สามารถใช้คาดเดาการตั้งครรภ์ได้

Read more: การฝังตัวของตัวอ่อนและการตรวจการตั้งครรภ์